ระบบการขาย
ขั้นตอนที่ 1
การเสนอแนวทางเลือกในการนาระบบใหม่มาใช้งาน
แนวทางเลือกเพื่อนาระบบใหม่มาใช้งาน โดยจะบอกถึงรายระเอียดของระบบที่จะพัฒนามีดังนี้
การเสนอแนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งาน
ทางทีมงานได้ทำการประเมินผลแนวทางเลือกซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม โดยกำหนดเกณฑ์การให้น้ำหนัก (คะแนน) เชิงปริมาณเปรียบเทียบไว้เป็น 4 ระดับ ดังนี้
น้ำหนักเท่ากับ 4 ช่วงคะแนน 100-90 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดีมาก
น้ำหนักเท่ากับ 3 ช่วงคะแนน 89-70 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดี
น้ำหนักเท่ากับ 2 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
น้ำหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 49-30 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ปรับปรุง
สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกและคัดเลือกซื้อ Software B มาใช้งาน เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด
ทางทีมงานได้ทำการประเมินผลแนวทางเลือกว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ ที่เหมาะสม โดยกำหนดเกณฑ์การให้น้ำหนัก (คะแนน) เชิงปริมาณเปรียบเทียบไว้เป็น 4 ระดับ ดังนี้
น้ำหนักเท่ากับ 4 ช่วงคะแนน 100-90 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดีมาก
น้ำหนักเท่ากับ 3 ช่วงคะแนน 89-70 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดี
น้ำหนักเท่ากับ 2 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
น้ำหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 49-30 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ปรับปรุง
สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกและคัดเลือกว่าจ้างบริษัทติดตั้งระบบ B มาใช้งาน เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด
เปรียบเทียบแนวทางเลือกทั้ง2
ผลจากการพิจารณาแนวทางเลือกของทีมงานจากทั้งสองแนวทาง จะนำเสนอเข้าสู่การพิจารณาของผู้บริหารเพื่อพิจารณาเลือกแนวทางตามที่ได้นำเสนอจากทีมงานพัฒนา พร้อมข้อเสนอแนะในแต่ละแนวทางเลือกหลักทั้งสอง โดยมีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้
แนวทางเลือกที่ 1 การจัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จระบบB
ผู้บริหารเลือกแนวทางที่ดีที่สุด
ข้อดี ระบบมีความสามารถพัฒนาระบบได้ตรงตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการของบริษัทที่ได้จัดทำไว้ราค่ามาต้นทุน/ค่าบำรุงรักษาระบบไม่สูงมากนัก
ข้อเสีย ระบบไม่สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการแต่ก็ไม่กระทบองค์กรใช้ระยะเวลาในการติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งานนาน
แนวทางเลือกที่ 2 การว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ B
ข้อดี ระบบมีความสามารถพัฒนาระบบได้ตรงตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการของบริษัทที่ระบบยังมีความยืดหยุ่นในปรับแต่งได้ตามความต้องการโดยไม่กระทบองค์กรสามารถพัฒนาไปยังอนาคตข้างหน้าได้ใช้ระยะเวลาติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งานน้อย
ข้อเสีย ราค่าต้นทุน/ค่าบำรุงรักษาระบบค่อนค้างสูง
หลังจากหัวหน้าทีมงานได้เสนอแนวทางเลือก โดยจัดทำข้อมูลเปรียบเทียบและข้อเสนอแนะแก่ทีมผู้บริหาร โดยใช้กฎเกณฑ์การให้น้ำหนัก (คะแนน) ดังตารางต่อไปนี้
ทางทีมงานผู้บริหารได้พิจารณาตัดสินใจเลือกแนวทางการว่าจ้างบริษัทติดตั้งระบบ B เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุดนอกจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงานแม้ว่าราค่าค่าติดตั้งจะค่อนค้างสูงแต่ก็มีความคุ้มค่าในการลงทุนแล้วแล้วยังสามารถพัฒนาไว้ใช้งานในระยะยาว
ขั้นตอนที่ 2
การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ
เป้าหมาย
นำระบบสาระสนเทศเพื่อการบริหารงานขายมาใช้งานในบริษัทเพื่อตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า
โครงการพัฒนาระบบการสั่งจองรถยนต์มีวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานเพื่อวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาให้เป็นระบบงานขายที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ ได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ
ขอบเขตของระบบ
โครงการพัฒนาระบบการสั่งจองรถยนต์ได้มีการจัดทำขึ้นโดยการว่าจ้างบริษัท B มารับผิดชอบโครงการ พร้อมกันนี้ได้กำหนดขอบเขตของระบบนี้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
· ระบบจะต้องแบ่งการทำงานอย่างชัดเจน แต่ข้อมูลสามารถเชื่อมโยงกันได้
· ระบบจะต้องรองรับการทำงานแบบ Multi-User ได้
· ระบบจะต้องใช้งานง่ายและสะดวก
· ระบบจะต้องเกิดข้อผิดพลาดน้อยที่สุดต่อการทำงาน
· ระบบจะต้องมีความถูกต้องและแม่นยำมากที่สุด
ปัญหาที่พบจากระบบเดิม
· การเก็บรวบรวมข้อมูลของลูกค้าและการค้นหาข้อมูลของลูกค้าเกิดความซ้ำซ้อน
· การจัดเก็บข้อมูลของสินค้าไม่เป็นระบบ
· ข้อมูลที่ได้ไม่มีความชัดเจนและแน่นอน
· เนื่องจากเป็นระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลอยู่ตลอดเวลาทำให้ข้อมูลเกิด ความเสียหายและสูญหายได้
· ยากต่อการหาข้อมูล
· การทำงานของพนักงานแต่ละฝ่ายไม่มีความแน่นอน
ความต้องการในระบบใหม่
ความต้องการในระบบใหม่ที่รวบรวมมาได้ คือ
· ความรวดเร็วของระบบใหม่ในการทำงาน
· สามารถเก็บ และตรวจสอบข้อมูลลูกค้า สินค้าได้
· สามารถเพิ่ม แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลของสินค้าและข้อมูลลูกค้าได้
· ให้การบริการแก่ลูกค้าในการซื้อขายเช่น การสั่งจองสินค้า การออกใบเสร็จ คำนวณอัตราค่าภาษีและการชำระจ่ายเงินได้ เป็นต้น
· สามารตรวจเช็คสินค้าที่ลูกค้าต้องการจองได้
· การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานทุกฝ่ายเช่น บัญชี
ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบใหม่
· บริษัทสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้
· บริษัทสามารถตัดสินใจในการจัดจำหน่ายสินค้าได้
· บริษัทมีผลการดำเนินการที่ดีขึ้น
· ขั้นตอนการทำงานของระบบในบริษัทที่มีความรวดเร็ว
· ขั้นตอนการสั่งจอง-การซื้อ-ขายรถยนต์ มีความถูกต้อง ชัดเจนและรวดเร็วในการทำงาน
· สามารถจัดเก็บข้อมูลสินค้า ทำให้การสั่งจอง-การซื้อ-ขายสินค้าได้รวดเร็วและถูกต้อง และมีเอกสารใบเสร็จยืนยันให้ลูกค้า
· การทำงานของพนักงานเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
· สะดวกสบายในการตรวจเช็คยอดขายและสินค้า
· ลดระยะเวลาในการทำงาน
แนวทางในการพัฒนา
การพัฒนาระบบของบริษัทมอเตอร์คาร์ เป็นการพัฒนาระบบในส่วนของการสั่งจิงรถยนต์และในส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเช่น การทำงานของพนักงานในแต่ละหน้าที่ ซึ่งบางครั้งการทำงานขั้นตอนต่าง ๆ อาจจะมีเอกสารหรือข้อมูลที่ซับซ้อนหลายขั้นตอน ดังนั้นจึงได้มีการวิเคราะห์ระบบใหม่เพื่อความสะดวกและมีประสิทธิภาพในการทำงาน เมื่อพิจารณาถึงขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสมกับบริษัทแล้วสามารถแบ่งได้ทั้งหมด 7 ขั้นตอน
1. การค้นหาและเลือกสรรโครงการ2. การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
3. การวิเคราะห์ระบบ
4. การออกแบบเชิงตรรกะ
5. การออกแบบเชิงกายภาพ
6. การพัฒนาและติดตั้งระบบ
7. การซ่อมบำรุงระบบ
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาและเลือกสรรโครงการ ( Project Identification and Selection )
เป็นขั้นตอนในการค้นหาโครงการเพื่อพัฒนาระบบใหม่ให้เหมาะสมกับระบบเดิมหรือให้เหมาะสมกับองค์กรที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือต้องการระบบเพื่อนำมาใช้ในการบริหารงานในส่วนที่เกิดความบกพร่องของบริษัท เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดในการทำงานขององค์กร
ดังนั้นจึงได้ยกตัวอย่างบริษัทที่ต้องการพัฒนาระบบคือบริษัทมอเตอร์คาร์ ข้อมูลดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ในส่วนของระบบที่ต้องการแก้ไขคือ
· การสั่งจองสินค้า· การเช็คสินค้าที่ลูกค้าต้องการจอง
· การจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าและข้อมูลการสั่งจองสินค้า
ขั้นตอนที่ 2 การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ
เป็นขั้นตอนในการเริ่มต้นทำโครงการด้วยการเริ่มต้นจัดตั้งทีมงาน ซึ่งเราจะต้องกำหนดหน้าที่ให้กับทีมงานแต่ละคนอย่างชัดเจนเพื่อร่วมกันสร้างแนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งานและนอกจากขั้นตอนดังกล่าวแล้วยังมีขั้นตอนอื่นอีกมากที่เกี่ยวข้องซึ่งเราสามารถสรุปกิจกรรมในขั้นตอนนี้ได้ดังนี้
· เริ่มต้นทำโครงการ ก่อนเริ่มทำโครงการเราควรศึกษาระบบเดิมในการทำงานก่อน
· กำหนดวัตถุประสงค์หรือทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้
· วางแผนการทำงานของระบบใหม่
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์
1. ศึกษาขั้นตอนการทำงานของระบบเดิม ดูว่าการทำงานของบริษัท มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อย่างไรและเหตุใดจึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบเดิม และระบบที่เปลี่ยนแปลงนี้จะเปลี่ยนในส่วนของระบบการสั่งจองสินค้า
2. การรวบรวมความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบ ศึกษาหรือสอบถามข้อมูลของระบบเดิมจากพนักงานหรือผู้ใช้ระบบ
3. จำลองแบบความต้องการที่รวบรวมได้ เมื่อเรารวบรวมข้อมูลมาได้แล้ว ก็สามารถออกแบบจำลองดังกล่าวได้ ด้วยวิธีการใดก็ได้ที่นักวิเคราะห์ระบบนำมาใช้ในการทำงานของระบบ
ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบเชิงตรรกะ
ขั้นตอนที่ 5 การออกแบบเชิงกายภาพ
ในขั้นตอนนี้เป็นการทำงานของระบบในส่วนของเทคนิคของโปรแกรมหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการปรับปรุงระบบอาจจะเป็นระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบสามารถเข้าใจขั้นตอนการทำงานมากขึ้น ซึ่งสิ่งที่ได้ในส่วนนี้จะเป็นแค่การออกแบบหลังจากนั้นจะทำการส่งให้โปรแกรมเมอร์ต่อไป
ขั้นตอนที่ 6 การพัฒนาและติดตั้งระบบ
· ทดสอบโปรแกรม
· ติดตั้งระบบ
· จัดทำเอกสาร สรุปผลการทำงานของระบบ
ขั้นตอนที่ 7 การซ่อมบำรุงระบบ
แผนการดำเนินงานของโครงการที่ต้องการวิเคราะห์ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง คือ ระบบการสั่งจองสินค้า และส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมีดังต่อไปนี้
- ทีมงานผู้รับผิดชอบโครงการ
- ประมาณการใช้ทรัพยากร
- ประมาณการใช้งบประมาณ
- ประมาณระยะเวลาดำเนินงาน
ขั้นตอนการวิเคราะห์ความต้องการของระบบใหม่
(System Requirement Structuring)
เป็นขั้นตอนในการเริ่มต้นทำโครงการด้วยการเริ่มต้นจัดตั้งทีมงาน ซึ่งเราจะต้องกำหนดหน้าที่ให้กับทีมงานแต่ละคนอย่างชัดเจนเพื่อร่วมกันสร้างแนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งานและนอกจากขั้นตอนดังกล่าวแล้วยังมีขั้นตอนอื่นอีกมากที่เกี่ยวข้องซึ่งเราสามารถสรุปกิจกรรมในขั้นตอนนี้ได้ดังนี้
· เริ่มต้นทำโครงการ ก่อนเริ่มทำโครงการเราควรศึกษาระบบเดิมในการทำงานก่อน
· กำหนดวัตถุประสงค์หรือทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้
· วางแผนการทำงานของระบบใหม่
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์
1. ศึกษาขั้นตอนการทำงานของระบบเดิม ดูว่าการทำงานของบริษัท มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อย่างไรและเหตุใดจึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบเดิม และระบบที่เปลี่ยนแปลงนี้จะเปลี่ยนในส่วนของระบบการสั่งจองสินค้า
2. การรวบรวมความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบ ศึกษาหรือสอบถามข้อมูลของระบบเดิมจากพนักงานหรือผู้ใช้ระบบ
3. จำลองแบบความต้องการที่รวบรวมได้ เมื่อเรารวบรวมข้อมูลมาได้แล้ว ก็สามารถออกแบบจำลองดังกล่าวได้ ด้วยวิธีการใดก็ได้ที่นักวิเคราะห์ระบบนำมาใช้ในการทำงานของระบบ
ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบเชิงตรรกะ
เป็นขั้นตอนในการออกแบบขั้นตอนการทำงานของระบบในแต่ละส่วนงานหรือแต่ละแผนกของงาน ซึ่งในการออกแบบระบบ ระบบงานที่ได้ในแต่ละส่วนจะไม่เหมือนกัน ซึ่งอาจจะมีแบบฟอร์มหรือผลลัพธ์ที่ได้เมื่อเราวิเคราะห์ขบวนเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ในขั้นตอนนี้เป็นการทำงานของระบบในส่วนของเทคนิคของโปรแกรมหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการปรับปรุงระบบอาจจะเป็นระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบสามารถเข้าใจขั้นตอนการทำงานมากขึ้น ซึ่งสิ่งที่ได้ในส่วนนี้จะเป็นแค่การออกแบบหลังจากนั้นจะทำการส่งให้โปรแกรมเมอร์ต่อไป
ขั้นตอนที่ 6 การพัฒนาและติดตั้งระบบ
ขั้นตอนนี้จะนำข้อมูลเฉพาะในส่วนที่ต้องการออกแบบของระบบมาทำการเขียนโปรแกรม เพื่อให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่ต้องการของระบบงานใหม่ อาจนำโปรแกรมที่เขียนสำเร็จรูปแล้วมาใช้งานในระบบก็ได้ หลังจากเขียนโปรแกรมแล้วเราก็ควรทำการทดลองว่าโปรแกรมใช้งานได้เหมาะสมกับการทำงานของบริษัทหรือไม่ ซึ่งในขั้นตอนนี้มีกระบวนการทำงานดังนี้
· เขียนโปรแกรม· ทดสอบโปรแกรม
· ติดตั้งระบบ
· จัดทำเอกสาร สรุปผลการทำงานของระบบ
ขั้นตอนที่ 7 การซ่อมบำรุงระบบ
อาจจะเป็นขั้นตอนสุดท้ายในการปรับปรุงระบบ เพราะหลังจากได้ระบบใหม่มาแล้ว เราก็นำเอาระบบที่ได้มานี้ทำการแก้ไขหากระบบที่ได้มาเกิดข้อผิดพลาด
แผนการดำเนินงานของโครงการ
แผนการดำเนินงานของโครงการที่ต้องการวิเคราะห์ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง คือ ระบบการสั่งจองสินค้า และส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมีดังต่อไปนี้
- ทีมงานผู้รับผิดชอบโครงการ
- ประมาณการใช้ทรัพยากร
- ประมาณการใช้งบประมาณ
- ประมาณระยะเวลาดำเนินงาน
แบบจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบการสั่งจอง
ขั้นตอนการวิเคราะห์ความต้องการของระบบใหม่
(System Requirement Structuring)
จำลองขั้นตอนการทำงานของระบบด้วย DFD
จากการวิเคราะห์ความต้องการระบบใหม่ที่รวบรวมมาได้จากผู้ใช้ระบบ โดยสามารถจำลองได้ด้วยแผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram : DFD) ได้ดังนี้
จากการวิเคราะห์ความต้องการระบบใหม่ที่รวบรวมมาได้จากผู้ใช้ระบบ โดยสามารถจำลองได้ด้วยแผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram : DFD) ได้ดังนี้
.1 ลูกค้า
ข้อมูลส่วนใหญ่ที่นำเข้าสู่ระบบนั้นจะข้อมูลการชำระเงิน ข้อมูลการสั่งซื้อ User/password ข้อมูลสมัครสมาชิก และระบบก็จะส่งข้อมูลออกมาให้แก่ลูกค้า จะมีข้อมูลใบส่งสินค้าและใบเสร็จรับเงินรายการที่สั่งซื้อ ข้อมูลการเข้าสู่ระบบ
2 ตัวแทนจำหน่าย
หากจำนวนวัตถุดิบในศูนย์ถึงจุดสั่งซื้อ ทางศูนย์จะทำการสั่งซื้อสินค้าเข้ามาจากตัวแทนจำหน่าย โดยระบบจะส่งข้อมูลออกใบสั่งซื้อสินค้า และข้อมูลการชำระเงิน และข้อมูลที่จะถูกส่งเข้าไปในระบบจะมีข้อมูลใบส่งวัตถุดิบและใบเสร็จรับเงิน
3 ผู้จัดการ
ส่วนของการนำข้อมูลออกจากระบบ ก็จะเป็นการสรุปหรือรายงานต่างๆ รายงานข้อมูลการสั่งซื้อวัตถุดิบ รายงานข้อมูลการชำระเงิน รายงานข้อมูลการขาย รายงานข้อมูลการผลิต
4 Admin/ผู้ดูแลระบบ
ข้อมูลที่นำเข้าสู่ระบบจะเป็นข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า ข้อมูลการผลิต ข้อมูลสินค้า และข้อมูลที่ส่งออกจากระบบก็คือ ข้อมูลการแก้ไขสมาชิก ข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า ข้อมูลลูกค้าจาก Context Diagram สามารถแบ่งขั้นตอนการทำงานภายในระบบออกเป็น 2 ขั้นตอน ด้วยการวิเคราะห์จากความต้องการของผู้ใช้ที่รวบรวมมาได้ สำหรับการคำนวณค่างวดเกี่ยวข้องกับรายได้ของบริษัท ดังนั้นจึงแยก Process ที่เกี่ยวข้องกับระบบ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1.Process 1 (การสมัครสมาชิก)
-เมื่อลูกค้าทำการสมัครสมาชิกโดยกำหนดUser/Passwordของตัวลูกค้าเองเรียบร้อยแล้ว ระบบจะทำการจัดเก็บข้อมูลการสั่งจองของลูกค้าโดยมี Adminเป็นผู้ดูแลระบบ
2.Process 2 (การสั่งจอง)
-ลูกค้าต้องทำการเข้ารหัสUser/Passwordของตัวลูกค้าเองก่อนจากนั้นระบบจะทำการหาข้อมูลของลูกค้า
-เมื่อลูกค้าทำการเข้าระบบเรียบร้อยแล้วระบบจะทำการบอกรายระเอียดการจองและเงือนไขการจองแก่ลูกค้า
-เมื่อลูกค้าทำการจองสินค้าระบบจะทำการค้าหาข้อมูลของสินค้าที่ลูกค้าได้ทำการจองว่ามีหรือไม่มี
-เมื่อลูกค้าทำการจองสินค้าเป็นที่เรียบร้อยแล้วระบบจะทำการเก็บข้อมูลไว้ในข้อมูลการจองสินค้าของลูกค้า
3.Process3 (การรับชำระเงิน)
-เมื่อลูกค้าทำการสั่งจองสินค้าระบบจะทำการคำนวณราคาสินค้าทั้งหมดที่ลูกค้าได้ทำการสั่งจองไว้ว่าเป็นจำนวนเท่าไร
-เมื่อระบบทำการคำนวณราคาเสร็จระบบจะทำการออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ลูกค้า
4.Process 4(การจ่ายชำระเงิน)
-เมื่อลูกค้าทำการสั่งจองสินค้าเป็นที่เรียบร้อยแล้วระบบจะทำการเช็คว่าลูกค้าได้ทำการจ่ายชำระเงินเป็นจำนวนเท่าไรและยังมียอดค้างชำระอยู่อีกเท่าไรให้แก่ลูกค้า
5. Process 5 (รายงานการสั่งจอง)
- เมื่อผู้จัดการต้องการพิมพ์รายงานผู้จัดการจะทำการเลือกรายงานจากระบบจากนั้น Process จะทำการดึงข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลลูกค้า โดยแฟ้มข้อมูลสินค้า แฟ้มข้อมูลการสั่งซื้อ แฟ้มข้อมูลการชำระเงินมาทำการประมวลผล เมื่อประมวลผลเสร็จเรียบร้อยระบบจะทำการส่งรายงานให้กับผู้จัดการ
DFD Level 1 of Process 1 (สมัครสมาชิก)
-เมื่อลูกค้าทำการสมัครสมาชิกโดยกำหนดUser/Passwordของตัวลูกค้าเองเรียบร้อยแล้ว ระบบจะทำการจัดเก็บข้อมูลการสั่งจองของลูกค้าโดยมี Adminเป็นผู้ดูแลระบบ
2.Process 2 (การสั่งจอง)
-ลูกค้าต้องทำการเข้ารหัสUser/Passwordของตัวลูกค้าเองก่อนจากนั้นระบบจะทำการหาข้อมูลของลูกค้า
-เมื่อลูกค้าทำการเข้าระบบเรียบร้อยแล้วระบบจะทำการบอกรายระเอียดการจองและเงือนไขการจองแก่ลูกค้า
-เมื่อลูกค้าทำการจองสินค้าระบบจะทำการค้าหาข้อมูลของสินค้าที่ลูกค้าได้ทำการจองว่ามีหรือไม่มี
-เมื่อลูกค้าทำการจองสินค้าเป็นที่เรียบร้อยแล้วระบบจะทำการเก็บข้อมูลไว้ในข้อมูลการจองสินค้าของลูกค้า
3.Process3 (การรับชำระเงิน)
-เมื่อลูกค้าทำการสั่งจองสินค้าระบบจะทำการคำนวณราคาสินค้าทั้งหมดที่ลูกค้าได้ทำการสั่งจองไว้ว่าเป็นจำนวนเท่าไร
-เมื่อระบบทำการคำนวณราคาเสร็จระบบจะทำการออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ลูกค้า
4.Process 4(การจ่ายชำระเงิน)
-เมื่อลูกค้าทำการสั่งจองสินค้าเป็นที่เรียบร้อยแล้วระบบจะทำการเช็คว่าลูกค้าได้ทำการจ่ายชำระเงินเป็นจำนวนเท่าไรและยังมียอดค้างชำระอยู่อีกเท่าไรให้แก่ลูกค้า
5. Process 5 (รายงานการสั่งจอง)
- เมื่อผู้จัดการต้องการพิมพ์รายงานผู้จัดการจะทำการเลือกรายงานจากระบบจากนั้น Process จะทำการดึงข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลลูกค้า โดยแฟ้มข้อมูลสินค้า แฟ้มข้อมูลการสั่งซื้อ แฟ้มข้อมูลการชำระเงินมาทำการประมวลผล เมื่อประมวลผลเสร็จเรียบร้อยระบบจะทำการส่งรายงานให้กับผู้จัดการ
DFD Level 1 of Process 1 (สมัครสมาชิก)
Process 1 สมัครสมาชิกเป็นขั้นตอนการสมัคสมาชิกของลูกค้า มีขั้นตอนการทำงานย่อยภายในทั้งหมด 3 ขั้นตอน หรือ 3 Process ดังนี้
1.Process 1.1 ตรวจสอบสมาชิกเป็นขั้นตอนที่ทำการตรวจสอบข้อมูลต่าง ๆของสมาชิกที่ทำการสมัคไว้นานแล้วหรือเพิ่งจะสมัค
-Process จะทำการรับข้อมูลการ log in จากลูกค้าแล้ว Process ก็จะทำการดึงข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลสมาชิก มาทำการประมวลผลเพื่อทำการตรวจสอบข้อมูล
2.Process 1.2 แก้ไขข้อมูลสมาชิกเป็นขั้นตอนที่ทำการแก้ไขข้อมูลของสมาชิกเมื่อสมาชิกต้องการแก้ไขข้อมูลของตัวเอง
-Processจะทำการแก้ไขข้อมูลของสมาชิกเมื่อสมาชิกต้องการจะแก้ไขข้อมูลของตัวเองโดย Processจะทำการดึงข้อมูลเดิมมาทำการแก้ไข
3.Process 1.3 บันทึกข้อมูลสมาชิกเป็นขั้นตอนการบันทึกข้อมูลของสมาชิกเมื่อทำการแก้ไขเสร็จแล้วหรือบันทึกข้อมูลเดิมของสมาชิก
-Processจะทำการบันทึกข้อมูลของสมาชิกเมื่อทำการแก้ไขเสร็จแล้วนำไปเก็บไว้ในข้อมูลของสมาชิกจาจากนั้น Process จะนำข้อมูลการแก้ไขข้อมูลของสมาชิกส่งไปยังผู้ดูแลระบบ
DFD Level 1 of Process 2 (การสั่งจอง)
-Process จะทำการรับข้อมูลการ log in จากลูกค้าแล้ว Process ก็จะทำการดึงข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลสมาชิก มาทำการประมวลผลเพื่อทำการตรวจสอบข้อมูล
2.Process 1.2 แก้ไขข้อมูลสมาชิกเป็นขั้นตอนที่ทำการแก้ไขข้อมูลของสมาชิกเมื่อสมาชิกต้องการแก้ไขข้อมูลของตัวเอง
-Processจะทำการแก้ไขข้อมูลของสมาชิกเมื่อสมาชิกต้องการจะแก้ไขข้อมูลของตัวเองโดย Processจะทำการดึงข้อมูลเดิมมาทำการแก้ไข
3.Process 1.3 บันทึกข้อมูลสมาชิกเป็นขั้นตอนการบันทึกข้อมูลของสมาชิกเมื่อทำการแก้ไขเสร็จแล้วหรือบันทึกข้อมูลเดิมของสมาชิก
-Processจะทำการบันทึกข้อมูลของสมาชิกเมื่อทำการแก้ไขเสร็จแล้วนำไปเก็บไว้ในข้อมูลของสมาชิกจาจากนั้น Process จะนำข้อมูลการแก้ไขข้อมูลของสมาชิกส่งไปยังผู้ดูแลระบบ
DFD Level 1 of Process 2 (การสั่งจอง)
Process 2 การสั่งจองเป็นขั้นตอนการสั่งจองสินค้าของลูกค้า มีขั้นตอนการทำงานย่อยภายในทั้งหมด 5 ขั้นตอน หรือ 5 Process ดังนี้
1.Process 2.1 รายการสินค้าเป็นขั้นตอนของรายการสินรถยนต์ทั้งหมดที่บริษัทมี
-Process จะทำการดึงข้อมูลของสินค้าทั้งหมดที่ลูกค้าสามารถสั่งจองได้ให้กับลูกค้า
2.Process 2.2 สั่งจองสินค้าเป็นขั้นตอนการทำการสั่งจองรายการสินค้าของลูกค้า
-ลุกค้าต้องทำการใส่User/Passwordของตัวเองก่อนจะทำการสั่งจองสินค้าที่ตนเองต้องการจะสั่งจองจาก Process จะทำการดึงข้อมูลของสมาชิกมาเมื่อทำการสั่งจองเสร็จเรียบร้อยแล้วระบบจะทำการส่งรายการการสั่งจองไปไห้กับ Process ต่อไป
3.Process 2.3 คำนวณอัตราภาษีเป็นขั้นตอนการคำนวณหาค้าภาษีของสินค้าทั้งหมดที่ได้ทำการสั่งจอง
-Processจะทำการดึงเอารายระเอียดการจองสินค้าและข้อมูลการสั่งจองสินค้ามาคำนวณหาอัตราภาษีของสินค้า
4.Process 2.4 ยืนยันการสั่งจองเป็นขั้นตอนของการยืนยันการสั่งจองสินค้าเมื่อลูกค้าได้ทำการสั่งจองเป็นที่เรียบร้อย
-Process จะทำการยืนยันการสั่งจองสินค้าโดย Process จะดึงเอารายระเอียดการสั่งจองสินค้าของลูกค้ามาทำการยืนยัน
5.Process 2.5 บันทึกข้อมูลเป็นขั้นตอนการบันทึกข้อมูลการสั่งจองทั้งหมด
-Process จะทำการบักข้อมูลการสั่งจองสินค้าทั้งหมดเมื่อลูกค้าได้ทำการยืนยัน แล้ว Process จะนำข้อมูการสั่งจองสินค้าให้กับผู้ดูแลระบบและส่งรายการสั่งจองที่ลูกค้าได้ทำไว้ให้กับตัวลูกค้าเอง
-Process จะทำการดึงข้อมูลของสินค้าทั้งหมดที่ลูกค้าสามารถสั่งจองได้ให้กับลูกค้า
2.Process 2.2 สั่งจองสินค้าเป็นขั้นตอนการทำการสั่งจองรายการสินค้าของลูกค้า
-ลุกค้าต้องทำการใส่User/Passwordของตัวเองก่อนจะทำการสั่งจองสินค้าที่ตนเองต้องการจะสั่งจองจาก Process จะทำการดึงข้อมูลของสมาชิกมาเมื่อทำการสั่งจองเสร็จเรียบร้อยแล้วระบบจะทำการส่งรายการการสั่งจองไปไห้กับ Process ต่อไป
3.Process 2.3 คำนวณอัตราภาษีเป็นขั้นตอนการคำนวณหาค้าภาษีของสินค้าทั้งหมดที่ได้ทำการสั่งจอง
-Processจะทำการดึงเอารายระเอียดการจองสินค้าและข้อมูลการสั่งจองสินค้ามาคำนวณหาอัตราภาษีของสินค้า
4.Process 2.4 ยืนยันการสั่งจองเป็นขั้นตอนของการยืนยันการสั่งจองสินค้าเมื่อลูกค้าได้ทำการสั่งจองเป็นที่เรียบร้อย
-Process จะทำการยืนยันการสั่งจองสินค้าโดย Process จะดึงเอารายระเอียดการสั่งจองสินค้าของลูกค้ามาทำการยืนยัน
5.Process 2.5 บันทึกข้อมูลเป็นขั้นตอนการบันทึกข้อมูลการสั่งจองทั้งหมด
-Process จะทำการบักข้อมูลการสั่งจองสินค้าทั้งหมดเมื่อลูกค้าได้ทำการยืนยัน แล้ว Process จะนำข้อมูการสั่งจองสินค้าให้กับผู้ดูแลระบบและส่งรายการสั่งจองที่ลูกค้าได้ทำไว้ให้กับตัวลูกค้าเอง
Process 3 การรับชำระเป็นขั้นตอนการรับชำระการสั่งจองสินค้าของลูกค้าว่ามียอดค้างชำระหรือไม่ มีขั้นตอนการทำงานย่อยภายในทั้งหมด 5 ขั้นตอน หรือ 5 Process ดังนี้
1.Process 3.1 ค้นหาข้อมูลเป็นขั้นตอนการค้นหาข้อมูลการจองและข้อของลูกค้า
-Process จะทำการค้นหาข้อมูลโดยการดึงเอาข้อมูลการสั่งจองสินค้าและข้อมูลลูกค้าแล้วส่งไปให้กับProcessต่อไป
2 .Process 3.2 คำนวณยอดค้างชำระเป็นขั้นตอนการคำนวณหายอดค้างชำระของลูกค้าที่มีอยู่ระบบ
-Process จะทำการดึงเอาข้อมูลการสั่งจองและข้อมูลรายระเอียดการจองของลูกค้ามาคำนวณหา
ยอดค้างชำระแล้วส่งให้กับลูกค้า
3. Process 3.3 ประมวลการรับชำระเป็นขั้นตอนการรับชำระเงินจากลูกค้า
-เมื่อลูกค้าทำการชำระเงิน-Process จะทำการประมวลการรับชำระเงินแล้วส่งไปให้กับProcessต่อไปนำเนินการต่อ
4 .Process 3.4 พิมพ์เอกสารเป็นขั้นตอนการการออกใบเสร็จให้กับลูกค้า
-Process จะทำการดึงข้อมูลการรับชำระเงินแล้วออกเป็นเอกสารใบเสร็จให้กับลูกค้า
5 .Process 3.5 บันทึกข้อมูลการจองเป็นขั้นตอนการบันทึกการจองของลูกค้าเมื่อทำการชำระเงินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
-Process จะทำการดึงข้อมูลการออกใบเสร็จการรับชำระเงินมาบันทึกไว้
Process 4 การรับชำระเป็นขั้นตอนการรับชำระการสั่งจองสินค้าของลูกค้าว่ามียอดค้างชำระหรือไม่ มีขั้นตอนการทำงานย่อยภายในทั้งหมด 3 ขั้นตอน หรือ 3 Process ดังนี้
1. Process 4.1 รายการที่จ่ายชำระเงินเป็นขั้นตอนการนำรายการสินคนค้าที่ได้สั่งจองไว้มาให้ลูกค้าได้ดูว่าต้องจ่ายเท่าไร
-Process จะทำการดึงข้อมูลการสั่งจองสินค้ามาทำให้เป็นรายการที่ต้องจ่ายชำระให้กับลูกค้า
2 .Process 4.2 ชำระเงิน
-Process จะทำการดึงข้อมูลการจ่ายชำระเงินของลูกค้าแล้วส่งไปให้กับตัวแทนจำหน่าย
3. Process 4.3 บันทึกข้อมูลเป็นขั้นตอนการบันทึกการจ่ายเงินของลูกค้า
-เมื่อทำการชำระเงินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว Process จะทำการบันทึกข้อมูลแล้วนำข้อมูลไปเก็บไว้ในข้อมูลการจ่ายชำระเงิน
Process 5 พิมพ์รายงานมีขั้นตอนการทำงานย่อยภายในทั้งหมด 2 ขั้นตอน หรือ 2 Process ดังนี้
1. Process 5.1 ตรวจสอบข้อมูลเป็นขั้นตอนที่ทำการตรวจสอบข้อมูลต่าง ๆ
- Process ทำการรับข้อมูลจากผู้จัดการแล้ว Process ทำการดึงข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลสินค้า แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลการชำระเงิน แฟ้มข้อมูลการสั่งซื้อ มาทำการประมวลผลเพื่อทำการตรวจสอบข้อมูล
2. Process 5.2 พิมพ์เป็นขั้นตอนการพิมพ์รายงาน
- Process ทำการรับข้อมูลจาก Process ที่ 5.1 มาทำการประมวลผลเพื่อทำการพิมพ์รายงานที่ผู้จัดการต้องการให้กับผู้จัดการ
การออกแบบ User Interface
ขั้นที่ 6 การพัฒนาและติดตั้งระบบระบบ
การซ่อมบำรุงนั้นจะขึ้นอยู่กับผู้พัฒนาระบบว่าระบบนั้นมีปัญหาอะไรบ้างจะอยู่ในความดูแลของผู้พัฒนาระบบมีการดูแลระบบอย่างต่อเนื่องเมื่อระบบมีปัญหาทางผู้พัฒนาระบบจะทำการซ้อมแซมระบบอย่างรวดเร็วหลังเกิดปัญหา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น